หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

สนทนาภาษาอังกฤษเรื่องประวัติส่วนตัว

เมื่อมีการสนทนากัน การแลกเปลี่ยนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติส่วนตัวก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่จะทำให้คู่สนทนาของเราเข้าใจเรามากขึ้น และเราก็เข้าใจเค้ามากขึ้นเช่นกัน วันนี้เราจึงขอเสนอตัวอย่างบทสนทนาภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว เพื่อให้เพื่อน ๆ ได้ฝึกพูดคุยกันนะคะ

VOCABULARY
(คำศัพท์)
Name (n)        เน้ม                ชื่อ
First name    เฟิ้ร์ซท์ เน้ม        ชื่อต้น ชื่อตัว
Last name    ล้าซท์ เน้ม            ชื่อสกุล ชื่อสุดท้าย นามสกุล
Family name    แฟ้มมิลี เน้ม        ชื่อสกุล ชื่อครอบครัว นามสกุล
Middle name    มิ้ดเดิล เน้ม        ชื่อกลาง(บางคนมีชื่อกลาง)
Nickname        นิ้คเนม            ชื่อเล่น
Spell(v)        สเป๊ล                สะกด
Address (n)    แอ๊ดเดรส            ที่อยู่ บ้านเลขที่
Able (v)        เอ๊เบิล            สามารถ
Remember (v)    รีเม้มเบอร์            จำได้
Such (adj)    ซั้ช                เช่นนั้น
anyhow (adv)    แอ๊นนีฮาว            นะ อย่างไรก็ดี
Province (n)    พร้อฟวินซ์            จังหวัด
Suburb (n)    ซั้บเบิร์บ            ชานเมือง
EXPRESSIONS TO REMEMBER
(ประโยคที่ควรจำ)
1. What’s your name?
ว้อทส์ ยัวร์ เน้ม?
คุณชื่ออะไร?
2. What’s your first name?
ว้อทส์ ยัวร์ เฟิ้ร์ซท์ เน้ม?
ชื่อต้นของคุณว่าอย่างไร?
3. What’s your last name?
ว้อทส์ ยัวร์ ล้าซท์ เน้ม?
นามสกุลของคุณว่าอย่างไร?
4. What’s your address?
ว้อทส์ ยัวร์ แอ๊ดเดรส?
ที่อยู่ของคุณคืออะไร?
5. Where do you work?
แว้ร์ ดุ หยุ เวิ้ร์ค?
คุณทำงานที่ไหน?
6. It’s at 315 Sukhumvit Road.
อิทส์ แอท ธรี้วันไฟ้ฟ์ว์ ซู้คุมวิท โร้ด
มันคือบ้านเลขที่ 315 ถนนสุขุมวิท
7. I won’t be able to remember such as long name.
ไอ โว้นท์ บี เอ๊เบิล ถุ รีเม้มเบอร์ ซั้ช-อะ ล้อง เน้ม
ผมคงจำชื่อยาวเช่นนั้นไม่ได้หรอก
8. Where is it, anyhow?
แว้ร์ อิซ-อิท, แอ๊นนีเวย์?
มันอยู่ที่ไหนนะ?
9. It’s in Nonthaburi.
อิทส์-อิน น้นทะบุรี
มันอยู่ที่นนทบุรี
10. It’s a province in the suburb of Bangkok.
อิทส์-อะ พร้อฟวินซ์-อิน เดอะ ซั้บเบิร์บ ออฟ แบ๊งขอค
มันเป็นจังหวัดหนึ่งชานกรุงเทพฯ
ที่มา:ดร.สุนทร  โคตรบรรเทา

การแนะนำตัวเองเป็นภาษาอังกฤษ (Introduce yourself)

การแนะนำตนเอง (Introducing Oneself)


การแนะนำตัวเองเป็นภาษาอังกฤษแบบง่ายๆ  ไม่ยากเย็น  ให้เริ่มโดยการทักทายก่อนเป็นอันดับแรก แล้วค่อยบอกว่าเราชื่ออะไร เป็นใคร มาจากไหน และแสดงความยินดีที่ได้รู้จัก
ซึ่งการแนะนำตนเองก็มีแบบง่ายๆเป็นกันเอง และการแนะนำตนเองอย่างเป็นทางการ ซึ่งถ้าเราเป็นนักเรียนก็แนะนำแบบเป็นกันเองก็ได้
ส่วนการแนะนำตนเองอย่างเป็นทางการนั้น สำหรับนักธุรกิจและผู้นำระดับบิ๊กๆ แล้วกัน จำไว้ว่าควรประกอบด้วยสี่ส่วนคือ ทักทาย บอกชื่อ บอกข้อมูลเพิ่มเติมเล็กน้อย กล่าวแสดงความรู้สึกดีที่ได้เจอกัน
สำนวนที่ใช้เหมาะกับหลายสถานการณ์เช่น
  • การแนะนําตัวเป็นภาษาอังกฤษหน้าชั้นเรียน
  • การแนะนําตัวเป็นภาษาอังกฤษในการสัมภาษณ์งาน
  • การแนะนำตัวเองเป็นภาษาอังกฤษในการเข้าทำงานในสถานที่ใหม่ โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงานจากหลายประเทศ
การแนะนำตนเองแบบเป็นกันเอง
Hello. (ทักทาย)
เฮ็ลโล๊ (สวัสดี)
My name’s Tongdee. (บอกชื่อ)
มาย เนมส ทองดี (ผมชื่อทองดี)
I’m from Thailand. (ข้อมูลเพิ่มเติม)
ไอม ฟรอม ไท๊แลนด (ผมมาจากประเทศไทย)
I’m an exchange student. (ข้อมูลเพิ่มเติม)
ไอม เมิน นิกซเช๊นจ สติ๊วเดินท (ผมเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน)
Glad to meet you. (แสดงความยินดีที่ได้เจอกัน)
แกลด ทะ มีท ชู (ดีใจที่ได้เจอกัน)
การแนะนำตนเองแบบเป็นทางการ
Good morning. (ทักทาย)
กุด ม๊อนิง (อรุนสวัสดิ์ครับ)
May I introduce myself? (ขออนุญาต)
เม๊ ยาย ยินทระดิ๊วซ มายเซ๊ลฟ (ผมขออนุญาตแนะนำตัวเองนะครับ)
My name is Somchai Rakdee. (บอกชื่อ)
มาย เนม มิส สมชาย รักดี (ผมชื่อสมชาย รักดี)
I’m the marketing manager from ABC company. (ข้อมูลเพิ่มเติม)
ไอม เดอะ ม๊าคิททิง แม๊นนิจเจอะ ฟรอม เอบีซี คั๊มพะนี (ผมเป็นผู้จัดการฝ่ายการตลาดจากบริษัทเอบีซี)
Nice to meet you. (แสดงความยินดีที่ได้เจอกัน)
ไนซ ทะ มีท ชู (ยินดีที่ได้รู้จัก)
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
อีกสำนวนหนึ่งของการขออนุญาตแนะนำตัวคือ
Let me introduce myself.
เล็ท มี อินทระดิ๊วซ มายเซ๊ลฟ
แต่จำไว้ใช้แค่อันเดียวก็พอนะครับ ส่วนเป็นใครมาจากไหน ก็ปรับเปลี่ยนกันเอาเองแล้วกัน

Cr. http://xn--12cl9ca5a0ai1ad0bea0clb11a0e.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9/

บทสนทนาภาษาอังกฤษ Greeting (การทักทาย)

การทักทายภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อสารกันระหว่างบุคคล การทักทาย (Greeting) อย่างง่ายที่เราจะมานำเสนอเป็นประโยคที่ใช้บ่อย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี รวมทั้งตัวอย่างประโยคสนทนาการทักทายภาษาอังกฤษ ดังนี้
หากจะถามว่า เป็นอย่างไรบ้าง/ สบายดีไหม เป็นการสอบถามทุกข์-สุข เช่น
เมื่อเขาถามมาเราก็สามารถตอบกลับไป ได้เช่น เป็นอย่างไรบ้าง / แล้วคุณล่ะครับ ดังตัวอย่างนี้
Cr. http://engenjoy.blogspot.com/2013/03/greeting.html


วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

เรื่องที่ 1 การทักทายและการกล่าวลา (Greeting and LeaveTaking)




2. การกล่าวลา (Leave Taking) โดยปกติ ก่อนจะจบสิ้นการสนทนาตามมารยาทและธรรมเนียมปฏิบัติของคนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นประเทศใดก็ตาม สิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ไม่สามารถละเลยได้ คือ การกล่าวลา (Leave Taking) โดยทั่วไป สานวนที่ใช้ในการกล่าวลา ได้แก่ Goodbye, Bye แปลว่า ลาก่อน

สบายดีมาก ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ

นอกจากนี้ยังมีสานวนที่ใช้ในการกล่าวลาอื่น ๆ อีก ซึ่งจะใช้ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น
 See you. แล้วเจอกันใหม่
 See you later. แล้วพบกันใหม่
 So long. ลาที (คนสนิท)
 I'll be seeing you. แล้วค่อยพบกันใหม่
 Good day. กล่าวลาตอนกลางวัน
 Good night. กล่าวลาตอนกลางคืน



Situation 1

Suda : Hello, Mana.
Mana : Hello, Suda. How are you?
Suda : Fine, thanks. And you?
Mana : Very well, thanks. Where's Malee?
Suda : She goes to the hospital.
Mana : What's happened?
Suda : She accompanies her mother to see the doctor.
Mana : Please tell her, I miss her. I've to go to now. Goodbye.
Suda : See you later.

สำนวน See you later.ใช้ในกรณีที่ไม่ได้ระบุเวลา ในกรณีที่ผู้สนทนาต้องการกล่าวลา โดยการระบุเวลาที่จะพบกันอีกครั้งหนึ่งแน่นอน ให้ใช้สำนวน ดังนี้
 See you tomorrow. แล้วพบกันวันพรุ่งนี้
 See you next year. ไว้พบกันปีหน้า
 See you on Sunday. แล้วพบกันวันอาทิตย์

การบอกลาในกรณีที่มีธุระสาคัญที่จะต้องขอลากลับก่อน ใช้สานวนดังนี้
 I'd better be on my way. จำเป็นจะต้องไปแล้ว
 I'll be back. เดี๋ยวฉันจะกลับมา



Situation 2

Keawta : I'll teach the supplementary lessons on Saturday.
Malee : That's a very kind of you.
Keawta : It's my pleasure. Goodbye.
Malee : See you on Sunday.


Situation 3

Wichai : Hi, Suda. How are you doing?
Suda : Not so well, thanks, and you?
Wichai : Fine, What's happened?
Suda : I catch a cold. I have to see the doctor now. Goodbye.
Wichai : Take care of yourself, Malee.


Situation 4

Wichai : Hi, Malee.
Malee : Hi, Wichai. What's up?
Wichai : Very well, thanks. How about you?
Malee : Fine, thanks. I'll go to Chiangmai to see the little panda.
Wichai : How nice!
Malee : I've to go now. I'll buy something at the department store. Bye
Wichai : Have a good time.


Situation 5

Mana : When will you leave for England?
Wichai : Next week. You can visit me if you have time.
Mana : I love to. Have you already prepared all things?
Wichai : Yes. I'll go to say goodbye to all of my cousins during these days
I'm afraid I have to go now. Bye.
Mana : Don't forget to write.



ใบงานที่1 การทักทาย และการกล่าวลา (Greeting and LeaveTaking)



ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อเติมบทสนทนาให้สมบูรณ์
Exercise 1 Choose the best answer.

Jaew : Hi, Joy.
Toy : _______ (1) _______. How have you been?
Jaew : _______ (2) _______. And you?
Toy : Good thanks. _______ (3) _______.
Jaew : I've changed my work. Now I'm with  Jook.
Toy : ______ (4) _______. I hope you enjoy it.
Jaew : I think so. I'm afraid I have to go now. I've a meeting this afternoon.
___________ (5)____________.
Toy : See you later.
1. a. Hi.            b. Hi. Jaew.      c. Good morning.        d. Good morning, Jaew.
2. a. Very well.  b. Very well, thank.   c. Very well, thanks.    d. Very well, Toy.
3. a. How does your work?                  b. How about your work?
    c. How do you do your work?         d. How are you doing your work?
4. a. How nice!      b. How good!      c. How's that!     d. How about!
5. a. Bye.               b. See you.           c. Good luck.    d. I'll be back.

Exercise 2 Choose the best answer.
1. Pom : Hi, Jun. How's life?               Jun : ________________.
a. I'm fine, thank you.             b. Very well, thanks, and you?   
c. Fine, thanks.                        d. Nothing to complain.
2. Nooch : ____________________.              Lak : I'm O.K.
a. Good morning, Madam. How are you keeping?      b. Good morning, Miss Lak. How are you today?
c. Hello, lady. How are everything?                d. Hello, Lak. How are you doing?
3. Ton : What's wrong with you, Sommai?     Sommai : _______________________
a. I'm not so well. I catch a cold.                     b. I'm O.K. I'll go to see the doctor.
c. Nothing to complain. I have a toothache.    d. So, so. My leg is broken.
4. Tui : My mother is waiting for me at the bus stop. I have to go now, bye! Kaew : ____
a. See you.                   b. Take care.   
c. Have a good time.    d. Please come again.
5. Mr.Ya : I'm sorry. I have to leave for Chiangmai now. Goodbye! Miss Pattana : _____
a. See you later.           b. Please come again.

c. Have a nice trip.        d. Take good care of yourself.

การทักทายและการกล่าวลา (Greeting and LeaveTaking)



1. การทักทาย (Greeting) ถ้าเป็นคนที่คุ้นเคยและสนิทสนมกัน มักจะใช้คาว่า Hello หรือ Hi ซึ่งแปลว่าสวัสดี แต่การทักทายอย่างเป็นทางการสำหรับผู้ไม่คุ้นเคยกัน หรืออยู่ในสถานภาพที่แตกต่างกัน เช่น เจ้านายกับลูกน้อง ครูกับลูกศิษย์ จะใช้คำว่า Good morning. (สวัสดีตอนเช้า) Good afternoon. (สวัสดีตอน กลางวัน) และ Good evening. (สวัสดีตอนเย็น) ต่อด้วยคำทักทายว่า How are you? (คุณสบายดีหรือ) ซึ่งคู่สนทนาก็จะตอบและถามกลับในทำนองเดียวกัน

Situation 1

Suda : Hi, Malee. How are you?
Malee : Fine, thanks. And you?
Suda : Very well, thank you.

ในสถานการณ์นี้ สุดากับมาลีเป็นเพื่อนกัน เมื่อพบกันก็ทักทายและถามทุกข์สุขซึ่งกัน
และกันก่อน

Situation 2

Wichai : Hi, Mana.
Mana : Hi, Wichai. How are you?
Wichai : I'm fine, thanks. And you?
Mana : Fine, thanks.

ในสถานการณ์นี้ วิชัยกับมานะเป็นเพื่อนกัน เมื่อพบกันก็สอบถามทุกข์สุขซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกัน

Situation 3

Suda : Good morning, Miss Kaewta.
Kaewta : Good morning. How about your homework?
Suda : I've done all. I'll hand you now.

ในสถานการณ์นี้ สุดาพบครูแก้วตาก็ทักทายว่าสวัสดี (ตอนเช้า) ครูแก้วตาก็กล่าวว่าสวัสดี (ตอนเช้า) เพื่อทักทายตอบและถามเรื่องการบ้าน ซึ่งสุดาก็ตอบว่าทาเสร็จแล้ว และจะส่งครูเดี๋ยวนี้


สาหรับช่วงเวลาของการกล่าวคำทักทายในภาษาอังกฤษ แบ่งออกได้เป็น 3 ช่วงดังนี้
Good morning.
ใช้คำทักทายในตอนเช้า ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึงตอนเที่ยงวัน 12.00 น.
Good afternoon.
ใช้คำทักทายในตอนหลังเที่ยงวัน ตั้งแต่เวลา 13.00 น. ถึงก่อนพระอาทิตย์ตก
Good evening.
ใช้คำทักทาย หลังเวลา 17.00 น. หรือหลังดวงอาทิตย์ตกเป็นต้นไป

สำนวนที่ใช้สอบถามทุกข์สุขว่าเป็นอย่างไรบ้างเมื่อพบกัน ในภาษาอังกฤษนิยมใช้ หลายสานวน ด้วยกัน เช่น
 How are you?
 How are you today? 
 How are you doing?
 How have you been?
สบายดีไหม / เป็นอย่างไรบ้าง

สำนวนที่ใช้ตอบรับถึงการสอบถามทุกข์สุขว่าเป็นอย่างไรเมื่อพบกัน เช่น
 Fine, thank you. And how are you? สบายดี ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ
 Very well, thanks. How about you?
 Great, thanks. How about you?
 So so. ก็เรื่อย ๆ นะ
 I'm quite well, thank you. And you? สบายดีนะ ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ
 Not quite well, I have a cold. And you? ไม่สบายนัก เป็นหวัด แล้วคุณล่ะ


ใบงานที่ 1 เรื่องที่ 2 การแนะนำตนเองและผู้อื่น (Introducing Yourself and Others)


ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน                                                 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดต่อไปนี้
Exercise Fill in the blank with correct expression.
1. Busaba : Suree, this is Dara.
Suree   : Nice to meet you.
Dara     : ____________________________

2. Ta    : Took,________________________
Took    : Hello, Tik.
Tik       : Hi, Took.

3. Poom  : Pook,this is Pom.
Pook    : ____________________________
Poom   : Nice to meet you too.

4. Mr.Joe   : Mr.John, _____________________
Mr.John   : How do you do?
Mr.John   : How do you do?

5. Miss Agner : Mrs. Johnson, may I introduce you Mr. Anderson.
Mrs.Johnson    : _______________________________________
Mr.Anderson    : _______________________________________



เรื่องที่ 2 การแนะนำตนเองและผู้อื่น (Introducing Yourself and Others)


การแนะนำตนเอง (Introducing  Yourself)  ในการแนะนำตนเองให้ผู้อื่นรู้จัก
      จะเริ่มต้นด้วยการกล่าวทักทายและแนะนำตนเองด้วยสำนวนต่าง ๆ ดังนี้
Hello. My name is (ชื่อของผู้พูด)
(สำหรับผู้ที่อยู่ในสถานะเดียวกัน เช่น เป็นนักศึกษาด้วยกัน เป็นต้น)
Hi. I'm (ชื่อของผู้พูด) (สำหรับผู้ที่อยู่ในวัยเดียวกัน)
 Good morning. My name is (ชื่อของผู้พูด) สวัสดีฉัน/ผม/ดิฉันชื่อ____
 Good morning. I'm (ชื่อของผู้พูด)  (สำหรับการพูดคุยอย่างเป็นทางการ)
เมื่อกล่าวแนะนำตัวแล้ว คู่สนทนาจะตอบว่า
 It's nice to meet you.
 Nice to meet you.                             ยินดีที่ได้จู้จักคุณ
 I'm glad to meet you.
 I'm glad to see you.
Situation 1
Suda : Hi. I'm suda. What's your name?
Malee : Hi. My name is malee.
Suda : Nice to meet you.
Malee : Nice to meet you, too.          
Situation 2
Wichai : Hello. I'm Wichai, my nickname is Chai.
Mana : Hello. My name is Mana and my nickname is Na.
Wichai : I'm glad to meet you.
Mana : I'm glad to meet you,too.
การแนะนำผู้อื่น    (Introducing Others)   ในสภาพความเป็นจริงของสังคม การพบปะสังสรรค์ ระหว่างกลุ่มเพื่อนหรือบุคคลที่ทำงานในที่เดียวกันต้องเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาการแนะนำ บุคคลอื่นให้รู้จักกันจึงเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่เสมอในสังคมของชาวตะวันตกและถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ว่าหากจะพูดคุยระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จักจะต้องได้รับการแนะนำให้รู้จักกัเสียก่อน
ยกตัวอย่างเช่น    สุดาต้องการแนะนำให้มาลีรู้จักกับสุวัฒน์ สุดาต้องกล่าวแนะนำดังนี้
Suda : Malee, this is Suwat. Suwat, this is Malee

(มาลีนี่คือคุณสุวัฒน์ คุณสุวัฒน์นี่คือคุณมาลี)









ใบงาน เรื่องที่ 1 การทักทาย และการกล่าวลา (Greeting and LeaveTaking)

ใบงานที่    1
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน                                                 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

 (จงเติมบทสนทนาที่เกี่ยวกับการทักทายให้สมบูรณ์)
1. Linda: Good morning.
John: _______________.

2. Louis: _______________.
Jack: Good afternoon.

3. Bobby ทักทาย Jinny ซึ่งเป็นเพื่อนใหม่ ในเวลา09.00 .
Bobby: ______________Jinny.

4. Susan: Good evening,
Laura: __________,

5. Jinny พบกับ David ซึ่งเป็นหัวหน้างานในเวลา 13.00 .
Jinny: ________________ David.

6. John: Good night.
Linda: ______________

7. Susan กล่าวลา Daddy ก่อนเข้านอน
Susan: ________________.
Daddy: ________________.

8. Mr.Sam: Good morning,Mr.Jack. _____________________.
Mr.Jack : Good morning,Mr.Sam. I’m glad to meet you, too.

9. Mr.Smith: Good afternoon, Mr.Joey. Nice to know you.
Mr.Joey : Good afternoon, Mr. Smith., _______________too.

10. Bobby ทักทาย Jinny ซึ่งเป็นเพื่อนใหม่ ในเวลา10.00 .
Bobby: ______________________.Jinny,How are you?


เรื่องที่ 1 การทักทาย และการกล่าวลา (Greeting and LeaveTaking)

สังคมโลกทุกวันนี้มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อด้วย ตนเองหรือติดต่อทางโทรศัพท์ ทางอินเทอร์เน็ต ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่สำคัญ ซึ่งคนส่วนใหญ่ในโลกใช้ในการติดต่อสื่อสารรองลงมาจากภาษาจีน อย่างไรก็ตามแม้ว่าภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาที่จาเป็นในยุคปัจจุบัน แต่ก็มิได้หมายความว่าทุกคนจะรู้และเข้าใจภาษาอังกฤษได้ทั้งหมด การสนทนาโดยใช้ภาษาท่าทางประกอบจึงเป็นเรื่องจาเป็นอีกอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้คู่สนทนา เข้าใจและสื่อความหมายในชีวิตประจำวันได้
ตามปกติในชีวิตประจำวัน เมื่อเราพบผู้คนในที่ต่าง ๆ เราจะต้องมีการทักทายและกล่าวลากันให้เหมาะสมตามโอกาส ในภาษาอังกฤษมีวิธีการทักทาย (Greeting) และกล่าวลา (Leave taking) กันอย่างไรบ้าง
  

1. การทักทาย (Greeting) ถ้าเป็นคนที่คุ้นเคยและสนิทสนมกัน มักจะใช้คำว่า Hello หรือ Hi ซึ่งแปลว่าสวัสดี แต่การทักทายอย่างเป็นทางการสำหรับผู้ไม่คุ้นเคยกัน หรืออยู่ในสถานภาพที่แตกต่างกัน เช่น เจ้านายกับลูกน้อง ครูกับลูกศิษย์ จะใช้คำว่า Good morning. (สวัสดีตอนเช้า) Good afternoon. (สวัสดีตอน กลางวัน) และ Good evening. (สวัสดีตอนเย็น) ต่อด้วยคำทักทายว่า How are you? (คุณสบายดีหรือ) ซึ่งคู่สนทนาก็จะตอบและถามกลับในทำนองเดียวกัน เช่น
Suda : Hi, Malee. How are you?
Malee : Fine, thanks. And you?
Suda : Very well, thank you.
ในสถานการณ์นี้ สุดากับมาลีเป็นเพื่อนกัน เมื่อพบกันก็ทักทายและถามทุกข์สุขซึ่งกันและกันก่อน เช่น
Wichai : Hi, Mana.
Mana : Hi, Wichai. How are you?
Wichai : I'm fine, thanks. And you?
Mana : Fine, thanks.
ในสถานการณ์นี้ วิชัยกับมานะเป็นเพื่อนกัน เมื่อพบกันก็สอบถามทุกข์สุขซึ่งกันและกัน
Suda : Good morning, Miss Kaewta.
Kaewta : Good morning. How about your homework?
Suda : I've done all. I'll hand you now.
ในสถานการณ์นี้ สุดาพบครูแก้วตาก็ทักทายว่าสวัสดี (ตอนเช้า) ครูแก้วตาก็กล่าวว่าสวัสดี (ตอนเช้า) เพื่อทักทายตอบและถามเรื่องการบ้าน ซึ่งสุดาก็ตอบว่าทำเสร็จแล้ว และจะส่งครูเดี๋ยวนี้
สำหรับช่วงเวลาของการกล่าวคำทักทายในภาษาอังกฤษ แบ่งออกได้เป็น3 ช่วงดังนี้

Good morning.
ใช้คำทักทายในตอนเช้า ตั้งแต่เวลา06.00 . ถึงตอนเที่ยงวัน 12.00 .

 Good afternoon.
ใช้คำทักทายในตอนหลังเที่ยงวัน ตั้งแต่เวลา13.00 . ถึงก่อนพระอาทิตย์ตก
 Good evening.
ใช้คำทักทาย หลังเวลา17.00 . หรือหลังดวงอาทิตย์ตกเป็นต้นไป
สำนวนที่ใช้สอบถามทุกข์สุขว่าเป็นอย่างไรบ้างเมื่อพบกัน ในภาษาอังกฤษนิยมใช้หลายสำนวน ด้วยกัน เช่น

 How are you?
 How are you today?                สบายดีไหม/ เป็นอย่างไรบ้าง
 How are you doing?
 How have you been?              สบายดีไหม/เป็นอย่างไรบ้าง
(ใช้ในกรณีที่ไม่ได้พบเจอกันเป็นเวลานาน)  

นอกจากนี้ ยังมีสำนวนที่ใช้กันอีก ดังนี้

 How is it up? (How's it up?)    
 What is up? (What's up?)            หมู่นี้เป็นอย่างไร

สำนวน How are you? ใช้ทักทายอย่างเป็นทางการ ส่วนสำนวนอื่น ๆ ใช้ทักทายอย่างไม่เป็นทางการสำนวนที่ใช้ตอบรับถึงการสอบถามทุกข์สุขว่าเป็นอย่างไรเมื่อพบกัน เช่น
 Fine, thank you. And how are you?    สบายดี ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ

 Very well, thanks. How about you?
 Great, thanks. How about you?              สบายดีมาก ขอบคุณ แล้วคุณ
 So so.                                                         ก็เรื่อย ๆ นะ
 I'm quite well, thank you. And you?      สบายดีนะ ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ
 Not quite well, I have a cold. And you?    ไม่สบายนัก เป็นหวัด แล้วคุณล่ะสบายดีมาก ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ



2. การกล่าวลา  (Leave Taking) โดยปกติ ก่อนจะจบสิ้นการสนทนาตามมารยาทและธรรมเนียมปฏิบัติของคนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นประเทศใดก็ตาม สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ไม่สามารถละเลยได้ คือ การกล่าวลา (Leave Taking) โดยทั่วไป สำนวนที่ใช้ในการกล่าวลา ได้แก่ Goodbye, Bye แปลว่า ลาก่อนนอกจากนี้ยังมีสำนวนที่ใช้ในการกล่าวลาอื่น ๆ อีก ซึ่งจะใช้ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น
 See you.             แล้วเจอกันใหม่
 See you later.    แล้วพบกันใหม่
 So long.             ลาที   (คนสนิท)
 I'll be seeing you.    แล้วค่อยพบกันใหม่
 Good day.               กล่าวลาตอนกลางวัน
 Good night.             กล่าวลาตอนกลางคืน
Suda : Hello, Mana.
Mana : Hello, Suda. How are you?
Suda : Fine, thanks. And you?
Mana : Very well, thanks. Where's Malee?
Suda : She goes to the hospital.
Mana : What's happened?
Suda : She accompanies her mother to see the doctor.
Mana : Please tell her, I miss her. I've to go to now. Goodbye.
Suda : See you later.

สำนวน See you later.ใช้ในกรณีที่ไม่ได้ระบุเวลา ในกรณีที่ผู้สนทนาต้องการกล่าวลา โดยการระบุเวลาที่จะพบกันอีกครั้งหนึ่งแน่นอน ให้ใช้สำนวน ดังนี้
 See you tomorrow.     แล้วพบกันวันพรุ่งนี้
 See you next year.     ไว้พบกันปีหน้า
 See you on Sunday.    แล้วพบกันวันอาทิตย์

การบอกลาในกรณีที่มีธุระสำคัญที่จะต้องขอลากลับก่อน ใช้สำนวนดังนี้
 I'd better be on my way.    จำเป็นจะต้องไปแล้ว
 I'll be back.                         เดี๋ยวฉันจะกลับมา